แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559
ยุทธศาสตร์ที่ 2 อนุรักษ์ และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
2.5 แผนปฏิบัติการจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพ
ตัวชี้วัด
1 มีเครื่องมือ กลไก สำหรับประเทศไทยในการกำกับดูแลด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ให้กับหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แนวทางปฏิบัติ | แผนงาน/โครงการ | ผลการดำเนินงาน |
---|---|---|
2.5.1.1 ทบทวน ปรับปรุง กรอบงานความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติปี 2550 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานในการใช้ประโยชน์และการควบคุมดูแลสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมของประเทศ | 1. การศึกษาเชิงนโยบาย/มาตรการ ควบคุมดูแลความปลอดภัยทางชีวภาพในการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมที่ไม่ก่อโรคในสภาพควบคุมระดับอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับพันธกรณีพิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ | |
2. ศึกษาวิเคราะห์กรอบงานความปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อควบคุมดูแลสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (LMOs) ที่นำไปใช้โดยตรงเป็นอาหารคน หรืออาหารสัตว์ และกระบวนการแปรรูป |
1. โครงการวิจัยพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบพืชดัดแปรพันธุกรรม ศึกษามาตรฐานการตรวจจำแนก พืชดัดแปรพันธุกรรมด้วยเทคนิคชีวโมเลกุลได้แก่ วิธี Real-time PCR, Multiplex Real-time PCRและ LAMP ในการตรวจมะละกอ GMOs, ข้าวโพด ถั่วเหลืองสายพันธุ์ต่างๆ และผลิตภัณฑ์ พัฒนาชุดตรวจสอบ ELISA kit เพื่อตรวจถั่วเหลือง GMOs พัฒนาชุดตรวจสอบ Biosensor เพื่อ ตรวจมะละกอ GMOs 2. การจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙ |
|
2.5.1.2 พัฒนากลไกการประสานงาน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความปลอดภัยทางชีวภาพ เพื่อเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศ | 1. เพิ่มประสิทธิภาพและขยายเครือข่ายศูนย์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (BCH) |
1. เพิ่มประสิทธิภาพและขยายเครือข่ายศูนย์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพ (BCH) |
2.5.1.3 เสริมสร้างสมรรถนะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ แก่หน่วยงานต่างๆ รวมทั้ง เอกชน และประชาชน | 1. เพิ่มสมรรถนะสำหรับนักประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม |
1. แต่งตั้งคณะกรรมการการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร กรมวิชาการเกษตร มีหน้าที่ กำหนดหลักเกณฑ์ มาตรการ แนวทางและกำกับดูแล การปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ทั้งทางด้านการปฏิบัติงานวิจัยของกรมวิชาการ เกษตรและการนำเข้าสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม กำกับดูแลประสานงานกับหน่วยงานหรือผู้ที่มี หน้าที่รับผิดชอบการนำเข้าสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมอย่างใกล้ชิด เพื่อติดตามให้ทราบ ตรวจสอบ หรือสงสัยว่าจะเป็นอันตราย และร่วมมือกับหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ ในการ ถ่ายทอดความรู้ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ 2. โครงการตรวจติดตามการแพร่กระจายพืชดัดแปรพันธุกรรม ตรวจติดตามการแพร่กระจายพืชดัด แปรพันธุกรรมทั่วประเทศไทย ได้แก่ มะละกอ ข้าวโพด ข้าว ถั่วเหลือง พริก มะเขือเทศ และ สับปะรด และบริการตรวจวิเคราะห์การปนพืชดัดแปรพันธุกรรมในสินค้าเกษตรนำเข้าและ ส่งออก 3. เพิ่มสมรรถนะสำหรับนักประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม |
2. เสริมสร้างสมรรถนะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการโครงการศูนย์นวัตกรรมการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ | ||
3. แผนงานการเสริมสร้างความรู้ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับนักวิชาการ นักวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน |
1. การจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย หลักสูตร ขั้นต้น หลักสูตรขั้นกลาง หลักสูตรเร่งรัด และหลักสูตรปฏิบัติการ |
|
4. พัฒนาประสิทธิภาพห้องปฏิบัติการเพื่อทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม |
1. จัดทำธนาคาร DNA (สัตว์น้ำจืด/สัตว์ทะเล) |
|
2.5.1.4 วางระบบแนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม และผลักดันให้มีการดำเนินการตาม (ร่าง) พระราชบัญญัติ ว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ พ.ศ. .... | 1. ดำเนินการเพื่อบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ พ.ศ. .... และจัดทำกฎกระทรวง ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง |
1. ดำเนินงานตามพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 ในการสุ่มตรวจติดตามการ ปนเปื้อนของพืชดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย รวมทั้งดำเนินการตามคำแนะนำของ คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพกรมวิชาการเกษตร 2. ดำเนินการเพื่อบังคับใช้ร่าง พรบ.ว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ พ.ศ. ..... และจัดทำกฎกระทรวง ระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง |
2.5.1.5 การอนุวัตการตามพิธีสาร คาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ และพิธีสารนาโงยา-กัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการรับผิดและ ชดใช้ตามพิธีสารคาร์ตาเฮนาฯ | 1. การจัดทำแนวทางปฏิบัติ/หลักเกณฑ์ในการพิจารณาประเมินความเสียหายตามบริบทของพิธีสารเสริมฯ | |
2. การให้สัตยาบันพิธีสารเสริมนาโงยากัวลาลัมเปอร์ ว่าด้วยการรับผิดและชดใช้ตามพิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ |
แนวทางปฏิบัติ | แผนงาน/โครงการ | ผลการดำเนินงาน |
---|---|---|
2.5.2.1 จัดเตรียมกฎเกณฑ์และแนวทางในเรื่องการรับผิดและชดใช้เมื่อเกิดความเสียหายต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นผลมาจากการขนส่ง การนำผ่าน การดูแล และการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมที่เคลื่อนย้ายข้ามพรมแดน | 1. จัดทำแนวทางระมัดระวังล่วงหน้าด้านความปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน |
1. มีการเข้าส่งผู้แทนเข้าประชุมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพในทุกปี ทั้งระดับ high level และระดับปฏิบัติการ |
2. สนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทางระมัดระวังล่วงหน้าในการเคลื่อนย้ายสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนอย่างปลอดภัย |
1. สนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทางระมัดระวังล่วงหน้าในการเคลื่อนย้ายสิ่งมีชีวิตดัดแปลง พันธุกรรมเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนอย่างปลอดภัย 2. ดำเนินร่างกำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการขนส่ง การมอบ การทำลาย และทำ ให้สิ้นสภาพเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ 3. การประชุมเรื่องป่าชุมชน กลุ่ม CLMTV |